วิทยาการคำนวณ คืออะไร?
สรุป “วิทยาการคำนวณ” ที่ต่อไปผู้ปกครองและเด็กหน ุ่มสาวยุคใหม่ต้องรู้จักกัน
1) “วิทยาการคำนวณ” คือวิชาที่ปรับหลักสูตรมาจา กวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ
ต่อไปนี้เด็กตั้งแต่ประถม ถึงระดับมัธยม จะได้ร่ำเรียนกัน ถือว่าเป็นวิชาบังคับนะครับ อยู่ในกลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ พอเปิดเทอมพฤษภาคมปี 2561 ก็เริ่มเรียนแล้ว
2) เนื้อหาของวิทยาการคำนวณจะค รอบคลุมวิชาเหล่านี้ในระดับ พื้นฐาน
ต่อไปนี้เด็กตั้งแต่ประถม ถึงระดับมัธยม จะได้ร่ำเรียนกัน ถือว่าเป็นวิชาบังคับนะครับ
2) เนื้อหาของวิทยาการคำนวณจะค
-วิทยาการคอมพิวเตอร์ (Computer Science: CS)
-เทคโนโลยสารสนเทศและการสื่ อสาร (Information Communication Technology: ICT)
-การรู้ดิจิทัล (Digital Literacy: DL)
-เทคโนโลยสารสนเทศและการสื่
-การรู้ดิจิทัล (Digital Literacy: DL)
3) หัวใจของวิชานี้คือ พื้นฐานการคิดเชิงคำนวณ (computational thinking) ที่มี 4 องค์ประกอบสำคัญ
-การแบ่งปัญหาใหญ่ให้เป็นปั ญหาย่อย (decomposition)
-การมองหารูปแบบของปัญหา (pattern recognition)
– การคิดเชิงนามธรรม (abstraction)
– ออกแบบขั้นตอนวิธีการแก้ปัญ หา (algorithm design)
-การมองหารูปแบบของปัญหา (pattern recognition)
– การคิดเชิงนามธรรม (abstraction)
– ออกแบบขั้นตอนวิธีการแก้ปัญ
ซึ่ง 4 องค์ประกอบนี้จะแทรกซึมอยู่ ในทุกระดับของหลักสูตร
โดยการคิดเชิงคำนวณไม่ใช่เร ื่องของ #โปรแกรมเมอร์ แต่เป็นเรื่องที่ทุกคนต้องม ีทักษะการคิดแบบนี้ ซึ่งจะเป็นประโยชน์แก่ตัวเด ็กยุคดิจิทัลในอนาคต
4) วิชานี้ไม่ได้สอนให้เด็กทุก คนกลายเป็น #โปรแกรมเมอร์
แต่สอนให้คิดเป็น และสามารถประยุกต์ใช้วิธีคิ ดเชิงคำนวณได้กับทุกสาขาอาช ีพ
อีกทั้งเนื้อหาคอมพิวเตอร์ห รือการเขียนโปรแกรม ถือว่าเป็นเพียงแค่ 1 ใน 3 ของวิทยาการคำนวณเท่านั้น
5) วิชานี้จะทยอยสอนปีละ 4 ชั้น เพื่อให้เด็ก คุณครูได้เรียนรู้และปรับตั วกันทัน
-เริ่มจาก ป.1 , ป.4 , ม.1 และ ม.4
-ปี 2562 จึงเริ่มสอนชั้น ป.2, ป.5, ม.2 และ ม.5
-พอปี 2563 ขยับไปสอนชั้น ป.3 ,ป.6 , ม.3 และ ม.6
-ใช้เวลาสามปีในการสอนจนครบ ทั้ง 12 ชั้นปี
-ปี 2562 จึงเริ่มสอนชั้น ป.2, ป.5, ม.2 และ ม.5
-พอปี 2563 ขยับไปสอนชั้น ป.3 ,ป.6 , ม.3 และ ม.6
-ใช้เวลาสามปีในการสอนจนครบ
6) หลักสูตรมีความยืดหยุ่นและใ ห้อิสระกับโรงเรียน สามารถปรับเพิ่มหรือลดจำนวน ชั่วโมงได้ตามความพร้อมของน ักเรียน
7) ตำรามีคุณภาพสูง ปรับใช้ง่าย
อย่างในระดับประถม เขาออกแบบเป็นแนวการ์ตูน มีตัวละครเป็นหุ่นยนต์ เป็นตัวดำเนินเรื่อง พยายามลดเนื้อหาที่เยอะลงไป ให้เด็กเข้าใจมากยิ่งขึ้น
อย่างในระดับประถม เขาออกแบบเป็นแนวการ์ตูน มีตัวละครเป็นหุ่นยนต์ เป็นตัวดำเนินเรื่อง พยายามลดเนื้อหาที่เยอะลงไป
8) มันไม่ใช่วิชาที่เพิ่มการบ้ าน หรือการทำโครงงานให้กับนักเ รียน แต่เพิ่มโอกาสในการสร้างสรร ค์งานในวิชาอื่นให้มีคุณภาพ มากขึ้น
9) การเตรียมความพร้อมของครูผู ้สอน
โดย สสวท.ได้จัดอบรมให้ครูคอมพิ วเตอร์เมื่อกลางปี 2560 และในช่วงมีนาคม 2561 จะจัดอบรมอีกครั้ง
โดย สสวท.ได้จัดอบรมให้ครูคอมพิ
10) ผู้ปกครองจะช่วยลูกเตรียมตั วได้อย่างไร?
-ป.1 เน้นในเรื่องของการคิดและแก ้ปัญหา ไม่จำเป็นต้องใช้คอมพิวเตอร ์มากนัก
-ป.4 เริ่มเรียน block programming ด้วยการใช้ scratch
-พอม.ต้น ถึงเริ่มมีการใช้ภาษาอย่าง python ในระดับพื้นฐานที่ไม่ยากและ ซับซ้อน
-ระดับม.ปลาย จะเน้นการทำโครงงานมากกว่า
-ป.4 เริ่มเรียน block programming ด้วยการใช้ scratch
-พอม.ต้น ถึงเริ่มมีการใช้ภาษาอย่าง python ในระดับพื้นฐานที่ไม่ยากและ
-ระดับม.ปลาย จะเน้นการทำโครงงานมากกว่า
11) การวัดผล “เน้นการคิดให้เป็น” มากกว่าการท่องจำ
โดยเด็กเล็กจะวัดผลจากกิจกร รมในห้องเรียนและการสังเกตพ ฤติกรรม เช่น ให้เขียนขั้นตอนการทำไข่เจี ยวเพื่อวัดผลเรื่องอัลกอริท ึมง่ายๆ
ส่วนเด็กโตจะเริ่มวัดผลแบบข ้อเขียน แต่เปิดกว้างและเน้นคิดมากก ว่าการท่องจำ
12) วิชานี้ไม่ได้ทำให้ลูกยิ่งต ิดหน้าจอ ติดเกม หรือโลกโซเชียล
เพราะหัวใจหลักสูตรต้องการ “ให้นักเรียนคิดวิเคราะห์ได ้ สามารถตัดสินใจแก้ปัญหาจากข ้อมูลได้ และรู้เท่าทันเทคโนโลยี”
ดังนั้นวิชานี้จึงไม่ได้ออก แบบมาให้ลูกยิ่งติดหน้าจอ แต่จะช่วยให้ท่องโลกอินเตอร ์เน็ตได้อย่างปลอดภัย และเป็นผู้สั่งงานคอมพิวเตอ ร์ มากกว่าถูกคอมพิวเตอร์ควบคุ ม
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น